About me

รูปภาพของฉัน
Mother of two,Midwife-IBCLC,craft lover...ตามไปดูได้ที่ www.birthababy.com

วันศุกร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555

Breastfeeding commercial


วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

Breastfeeding and Emergencies

Research shows that infants and children are the most vulnerable during emergencies.


  • Nearly 95% of infant and child deaths in emergencies result from diarrhea due to contaminated water and an unsanitary environment.
  • Infant formula has been linked to an increase in infant disease and death: it can also be contaminated and requires clean water and fuel to sterilize formula, bottles, and nipples. Lack of electricity also can make it difficult to preserve formula.
  • Breastfeeding saves lives! Human milk is always clean, requires no fuel, water, or electricity, and is available, even in the direst circumstances.
  • Human milk contains antibodies that fight infection, including diarrhea and respiratory infections common among infants in emergency situations.
  • Human milk provides infants with perfect nutrition, including the proper amount of vitamins and minerals required for normal growth.
  • Breastfeeding releases hormones that lower stress and anxiety in both babies and mothers.
  • Mothers who breastfeed are able to keep their babies warm to prevent hypothermia.







Breastfeeding and Emergencies

วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

Latest news for Women Deliver

Women Deliver Maternal Health theme: Call for Topics

Petra ten Hoope-Bender, the Institute’s Director for Reproductive, Maternal, Newborn and Child Health (RMNCH), is the lead organizer for the Maternal and Newborn Health Theme at the 2013 Women Deliver Conference. Together with Jeff Smith from Jhpiego, Mary Nell Wegner from the Maternal Health Task Force and Winnie Mwebesa and Claudia Morrissey from Save the Children, Petra will be putting together 12 panel sessions on the hot topics in the area of maternal and newborn health. Some of the ideas already under consideration are morbidities, young motherhood, midwifery and m-health. Women Deliver is expecting some 5000 participants at the conference in Kuala Lumpur, 28-30 May 2013.

Please read this invitation which will be sent to a wide international audience and feel free to forward it to colleagues so that we reach as broad a group of individuals and organisations as possible. The closing date for topic suggestions is 14 September 2012.
Please send your ideas and suggestions to: Petra ten Hoope-Bender mnhstream[at]integrare[dot]esLatest news

วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

What Makes A Good Clinical Instructor?
It is easy to find individuals who want to be IBCLCs. In many parts of the world, there are programs in a variety of formats, styles, and locations that teach the essential didactic background of lactation consulting. What is missing are sufficient numbers of qualified individuals who will offer supervised clinical instruction for the preparation of IBCLCs.
Clinical instructors require a special skill set that enables them to guide new professionals in the acquisition of knowledge and skills. Not all experienced IBCLCs want to serve as clinical instructors. Of those who wish to do so, not all will have the necessary teaching skills, experience, or professional and personal attributes that enable them to be effective clinical instructors. This chapter will explore what all good clinical instructors have in common and what can make them great.
Definition of a Clinical Instructor
The words “mentor” and “preceptor” sometimes are used interchangeably to describe individuals who provide expertise and experience and act as a role model. Figure 2.1 demonstrates how the meaning of each differs subtly from one another and sets them apart from the definition of a clinical instructor. The term “clinical instructor” as used in this text describes the person who provides educational preparation to the aspiring lactation consultant.
Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

What Makes A Good Clinical Instructor?
It is easy to find individuals who want to be IBCLCs. In many parts of the world, there are programs in a variety of formats, styles, and locations that teach the essential didactic background of lactation consulting. What is missing are sufficient numbers of qualified individuals who will offer supervised clinical instruction for the preparation of IBCLCs.
Clinical instructors require a special skill set that enables them to guide new professionals in the acquisition of knowledge and skills. Not all experienced IBCLCs want to serve as clinical instructors. Of those who wish to do so, not all will have the necessary teaching skills, experience, or professional and personal attributes that enable them to be effective clinical instructors. This chapter will explore what all good clinical instructors have in common and what can make them great.
Definition of a Clinical Instructor
The words “mentor” and “preceptor” sometimes are used interchangeably to describe individuals who provide expertise and experience and act as a role model. Figure 2.1 demonstrates how the meaning of each differs subtly from one another and sets them apart from the definition of a clinical instructor. The term “clinical instructor” as used in this text describes the person who provides educational preparation to the aspiring lactation consultant.
Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

What Makes A Good Clinical Instructor?
It is easy to find individuals who want to be IBCLCs. In many parts of the world, there are programs in a variety of formats, styles, and locations that teach the essential didactic background of lactation consulting. What is missing are sufficient numbers of qualified individuals who will offer supervised clinical instruction for the preparation of IBCLCs.
Clinical instructors require a special skill set that enables them to guide new professionals in the acquisition of knowledge and skills. Not all experienced IBCLCs want to serve as clinical instructors. Of those who wish to do so, not all will have the necessary teaching skills, experience, or professional and personal attributes that enable them to be effective clinical instructors. This chapter will explore what all good clinical instructors have in common and what can make them great.
Definition of a Clinical Instructor
The words “mentor” and “preceptor” sometimes are used interchangeably to describe individuals who provide expertise and experience and act as a role model. Figure 2.1 demonstrates how the meaning of each differs subtly from one another and sets them apart from the definition of a clinical instructor. The term “clinical instructor” as used in this text describes the person who provides educational preparation to the aspiring lactation consultant.
Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

What Makes A Good Clinical Instructor?
It is easy to find individuals who want to be IBCLCs. In many parts of the world, there are programs in a variety of formats, styles, and locations that teach the essential didactic background of lactation consulting. What is missing are sufficient numbers of qualified individuals who will offer supervised clinical instruction for the preparation of IBCLCs.
Clinical instructors require a special skill set that enables them to guide new professionals in the acquisition of knowledge and skills. Not all experienced IBCLCs want to serve as clinical instructors. Of those who wish to do so, not all will have the necessary teaching skills, experience, or professional and personal attributes that enable them to be effective clinical instructors. This chapter will explore what all good clinical instructors have in common and what can make them great.
Definition of a Clinical Instructor
The words “mentor” and “preceptor” sometimes are used interchangeably to describe individuals who provide expertise and experience and act as a role model. Figure 2.1 demonstrates how the meaning of each differs subtly from one another and sets them apart from the definition of a clinical instructor. The term “clinical instructor” as used in this text describes the person who provides educational preparation to the aspiring lactation consultant.
Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

What Makes A Good Clinical Instructor?
It is easy to find individuals who want to be IBCLCs. In many parts of the world, there are programs in a variety of formats, styles, and locations that teach the essential didactic background of lactation consulting. What is missing are sufficient numbers of qualified individuals who will offer supervised clinical instruction for the preparation of IBCLCs.
Clinical instructors require a special skill set that enables them to guide new professionals in the acquisition of knowledge and skills. Not all experienced IBCLCs want to serve as clinical instructors. Of those who wish to do so, not all will have the necessary teaching skills, experience, or professional and personal attributes that enable them to be effective clinical instructors. This chapter will explore what all good clinical instructors have in common and what can make them great.
Definition of a Clinical Instructor
The words “mentor” and “preceptor” sometimes are used interchangeably to describe individuals who provide expertise and experience and act as a role model. Figure 2.1 demonstrates how the meaning of each differs subtly from one another and sets them apart from the definition of a clinical instructor. The term “clinical instructor” as used in this text describes the person who provides educational preparation to the aspiring lactation consultant.
Clinical Instruction in Lactation: Teaching the Next Generation - iBreastfeeding.com

วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

10 Facts on Breastfeeding จาก World Health Organization

WHO | 10 facts on breastfeeding ลองอ่าน 10 facts on reastfeeding จาก WHO

  • WHO strongly recommends exclusive breastfeeding for the first six months of life.
  • Health benefits for infant
  • Benefits for mothers
  • Long-term benefits for children
  • Why not infant formula?
  • HIV and breastfeeding
  • Regulating breast-milk substitutes
  • Support for mothers is essential
  • Work and breastfeeding
  • The next step: phasing in new foods
http://www.who.int/features/factfiles/breastfeeding/facts/en/index9.html

VDO Breastfeeding from Baby Oh Baby (will be available on www.birthababy.com Soon

http://babybabyohbaby.com/breastfeeding-video-preview.html

วันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2555

วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

มหัศจรรย์นมแม่








ถ้าเด็กทารกทุกคนบนโลกได้กินนมแม่ คงจะมีเด็กที่ป่วยน้อยลงมากเพราะ
มีงานวิจัยออกมารองรับมากมายว่า นมแม่เป็นอาหารมหัศจรรย์สำหรับเด็กทารก
ทุกคน ดังนั้น เมื่อคุณแม่มีลูกของขวัญที่ดีที่สุดที่คุณจะมอบให้กับลูกได้ก็คือ
 นมแม่จากอกแม่นั่นเอง

มีหลายๆท่านที่ให้นมแม่ไม่สำเร็จด้วยสาเหตุต่างๆ ถ้าเป็นการเจ็บป่วยทางร่างกายก็เป็น
ข้อยกเว้นจริงๆ แต่หลายคนที่ให้นมแม่ไม่ได้อาจจะเกิดจากการรู้เท่าไม่ถึงการไม่รู้ถึง
เทคนิค และวิธีการให้นมแม่อย่างถูกต้อง จึงทำให้เกิดความเครียด ท้อถอย นมแม่ 
ก็แห้งไปในที่สุด

ดูดนม ต้องดูดให้ถูกวิธี

เริ่มตั้งแต่วิธีให้ลูกอมหัวนมแม่
การดูดให้ถูกวิธีจะทำให้ลูกได้รับน้ำนมแม่อย่างเพียงพอ นมแม่ได้รับการกระตุ้นที่

ถูกวิธีจะทำให้มีการผลิตน้ำนมอย่างสมำเสมอ ซึ่งจะต้องเริ่มจากการอมหัวนมของ
ลูกน้อย เขี่ยที่ริมฝีปากล่างลูกเบาๆ ลูกจะอ้าปาก ลิ้นเคลื่อนออกมาเล็กน้อย ให้อุ้ม
ลูกเข้าหาหัวนมแม่โดยให้อมจนเต็มลานหัวนม ไม่ต้องกลัวว่าจะคับปากลูก เพราะ
หัวนมและลานหัวนมจะลู่ไปตามช่องปากของลูก เหงือกจะงับอยู่บนลานหัวนม 
ลิ้นจะอยู่ใต้ลานหัวนม ห่อหัวนม และลานหัวนม พร้อมกับดันขึ้นไปแนบกับเพดานปาก
 ขณะดูดจะเกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ ลิ้นจากปลายจนถึงโคนลิ้น เหมือนลูกคลื่น 
เป็นการรีดนม ส่วนเหงือกที่งับบนลานหัวนมที่มีกระเปาะน้ำนมอยู่จะงับเข้าหากันเป็น
จังหวะ ทำให้น้ำนมพุ่งเข้าปาก
ส่วนการดูดนมขวด เพียงแต่คว่ำขวดลง นมก้ไหลเข้าปากลูกแล้ว ลูกไม่จำเป็นต้อง
ใช้สิ้นและเหงือก ง่ายกว่าการดูดนมจากอกแม่มาก นี่จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมเด็กแรกเกิด
ไม่ควรดูดนมจากขวดตั้งแต่แรกเกิด

ท่าให้นมลูกใครว่าไม่สำคัญ
ท่าให้นมลูกเป็นส่วนสำคัญอีกอย่างที่จะทำให้คุณแม่ประสบความสำเร็จในการให้นมลูกอย่างยิ่ง



1.ท่านอนเปล คุณแม่ที่หายเจ็บแผลหรือหายอ่อนเพลียจากการคลอดลูกแล้ว มักเลือกใช้ท่านี้เป็นส่วนใหญ่
*นั่งบนเก้าอี้หรือเตียงนอนที่สามารถพงหลังได้อย่างสบาย
*อุ้มลูกอยู่ในอ้อมแขน ให้ศีรษะลูกอยู่ในช่วงเว้าของข้อศอก ส่วนแขนประคองลำตัวลูกโดยที่ฝ่ามือหรือบริเวณสะโพก หรือก้นของลูก
*หน้าลูกจะหันเข้าหาเต้านมแม่โดยอัตโนมัติ
*มืออีกข้างอาจจะช่วยประคองก้นลูก หรือประคองเต้านมข้างที่ลูกดูดเพื่อให้หัวนมเข้าปากลูกให้ลึกที่สุด

2.ท่าเปลขวาง ท่านี้จะคล้ายกับท่าที่ 1 เพียงแต่ใช้มือสลับข้างกัน
*ใช้มือด้านตรงข้ามกับเต้านมที่ให้ลูกดูดนม ประคองหัวและคอของลูกเอาไว้
*เป็นท่าที่เหมาะสำหรับจะถอนหัวนมออกจากปากของลูกโดยการใช้นิ้วก้อยสอดเข้าไประหว่างเหงือกกับหัวนม หรือจับตรงปลายคาง ให้ปากลูกอ้าออก
*ใช้ท่านี้สลับกับท่าที่ 1 เวลาที่ลูกดิ้นเพราะอึดอัด หรืออยากจะเปลี่ยนท่า

3.อุ้มลูกรักบี้ เหมาะสำหรับคุณแม่ที่ผ่าตัดคลอดและยังเจ็บแผลอยู่ การใช้ท่านี้ลูกไม่ต้องนอนบนตัวคุณแม่ และเหมาะสำหรับคุณแม่ลูกแฝดที่ให้นมลูกพร้อมกัน
*หาที่นั่งสบายที่มีพนักพิง
*อุ้มลูกไว้ข้างลำตัว ขาลูกจะอยู่ใต้วงแขนของคุณแม่
*ช่วงลำตัวลูกจะอยู่บนแขนคุณแม่ และส่วนศีรษะลูกจะอยู่บนฝ่ามือขยับตัวและศีรษะลูกให้พอดีกับเต้านม
*ใช้มืออีกข้างช่วยประคองเต้านม เพื่อให้ลูกดูดได้สะดวกขึ้น

4.ท่านอน ท่านี้คุณแม่ทั้งหลายชอบ เพราะไม่ทำให้เจ็บแผล ไม่ต้องขยับตัวมาก
*คุณแม่นอนตะแคงข้าง อาจจะหาหมอนมาหนุนบริเวณหัวไหล่
*ให้ลูกนอนตะแคงหันหน้าเข้าหาแม่ โดยจัดให้ปากของลูกงับหัวนมแม่ได้พอดี
*ถ้าจะเปลี่ยนเต้าให้ลูกดูด คุณแม่ก็เพียงแต่นอนกึ่งๆเหมือนนอนคว่ำ ให้เต้านมแม่โน้มลงมาพอดีกับปากลูก
*สิ่งที่ต้องระวังคือ อย่าให้หน้าอกคุณแม่ทับจมูกลูกโดยเฉพาะเวลากลางคืน คุณแม่ต้องระวังจะเผลอหลับไปก่อนที่ลูกจะดูดนมเสร็จ



ที่มา...นิตยสาร littlebabies
โดย perspective_ampz
กลับไปที่ www.oknation.net  
วันที่ อังคาร มีนาคม 2553

Source: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=568344

6 เดือนแรกให้นมแม่อย่างเดียว - นมแม่ Breast Mom

6 เดือนแรกให้นมแม่อย่างเดียว - นมแม่ Breast Mom
น้ำนมแม่ไม่เพียงเป็นอาหารที่ดีที่สุดของมนุษย์ การให้นมแม่ยังช่วยพัฒนาด้านจิตใจของแม่และลูกได้เป็นอย่างดี

      องค์การอนามัยโลกได้ประกาศเมื่อปี 2548 ให้กินน มแม่อย่างเดียว 6 เดือน การศึกษายืนยันว่า การให้นมแม่อย่างเดียวนานขึ้นนอกจากจะลดโอกาสการเกิดโรคท้องเสีย โรคทางเดินหายใจ และ โรคภูมิเเพ้ ยังมีผลต่อการพัฒนาการทางสมองของเด็กมากกว่าด้วย และขอให้คุณแม่เชื่อมั่นว่า 6 เดือนเเรกลูกกินนมแม่อย่างเดียวลูกจะไม่ขาดสารอาหาร ไม่ขาดน้ำ อย่างแน่นอน


ข้อดีของการให้นมแม่
        สารอาหารครบถ้วน โดยเฉพาะ 6 เดือนแรก สมองของลูกเติบโตเร็ว นมแม่เหมาะสมที่สุด การพัฒนาจอประสาทตาจะดีกว่านมผงและความฉลาด ( ไอคิว) เด็กที่กินนมเเม่จะสูงกว่า 3 -10 จุดนมแม่, mom baby
        มีภูมิคุ้มกันป้องกันโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ภูมิแพ้และท้องเสีย
        ลดภาวะโรคอ้วนในเด็กเพราะนมแม่ย่อยง่าย
        สะดวก ประหยัด สะอาด
        มดลูกของแม่เข้าอู่ได้ดี
        ช่วยคุมกำเนิด
        ลดโอกาสเกิดเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก
        ช่วยลดไขมันที่สะสมไว้ขณะตั้งครรภ์ น้ำหนักลดลงเร็วหลังคลอด
        ทารกถ่ายสะดวกท้องไม่ผูก
        การอุ้มลูกเป็นการช่วยกระตุ้นประสาทสัมผัสทำให้มีการพัฒนาของสมองของลูก


เคล็ดลับในการให้นมแม่ ประสบความสำเร็จ
       1. ดูดเร็ว
            ให้ลูกดูดนมเเม่ทันทีหลังคลอด จะช่วยกระะตุ้นการสร้างน้ำนมมาเร็วขึ้น
       2. ดูดบ่อย
            ให้ลูกดูดนมเเม่บ่อยตามที่ลูกต้องการ ช่วงหลังคลอดอาจจะต้องให้ดูดทุกๆ 1-2 ชั่วโมง ทารกมักจะหิวนมทุก 2-3 ชั่วโมง
       3. ดูดถูกวิธี
            ท่าดูดนมที่ถูกต้องคือ ปลายจมูกชิดเต้า ปากอมจนมิดลานหัวนม คางชิดเต้านม ลูกดูดเเล้วจังหวะสม่ำเสมอ เเม่จะต้องอยู่ในท่าสบาย ไม่ปวดหลัง
       4. ดูดเกลี้ยงเต้า
            การดูดนมแม่จะต้องนานพอ ส่วนใหญ่ดูดสลับข้างละประมาณ 5-15 นาที ในแม่ที่จำเป็นต้องไปทำงานก่อน 6 เดือน ควรฝึกการบีบเก็บน้ำนมไว้ก่อนไปทำงานเพื่อให้พี่เลี้ยงลูกนำไปให้ลูก ทาน  
     การให้นมแม่แก่ลูกฟังดูเหมือนง่าย จำเป็นต้องอาศัยเวลา การฝึกฝนทักษะและความอดทน



วันอังคารที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

สมองซีกซ้าย สมองซีกขวา

เมื่อสองวันก่อนได้มีโอกาสได้ฟังการบรรยายของ ดอกเตอร์คริสตินา สมายลี่คนที่เคยมาบรรายาเรื่อง Baby led Breastfeeding ในการประชุม Gold Conference 2012 ซึ่งเป็นOnline Breastfeeding Conference ที่มีการจัดมาเป็นประจำทุกปีตั้งแต่ปี 2007  คราวนี้พูดหัวข้อ ให้"นมแม่"เป็นเรื่องธรรมดา Breastfeeding :Keep it Simple.
พูดถึงการเปี่ยนแปลงจากสิ่งที่เป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ผู้หญิงเคยทำได้โดยไม่เคยมีปัญหา ให้กลับเป็นเรื่องยากลำบาก จากประวัติศาสตร์ที่ถ่ายทอดภาพการคลอดที่บ้าน มีผู้หญิงห้อมล้อม มาเป็นคนแปลกหน้าที่ปิดหน้า ปิดปากแต่งตังแปลก มีเครื่องมือมากมาย ภาพจิตรกรรมที่ปรากฏภาพน้ำนมพุ่ง อุ้มลูกกินนม ไม่เห็นมีแม้แต่ผ้าอ้อม ไม่มีการกะเกณฑ์ตามนาฬิกา ทุกอย่างเป็นไปตามที่จะเป็น ไม่มีคำถามเรื่องน้ำนมไม่พอ...จนกระทั่งสังคมเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม ผู้หญิงเริ่มเข้าไปทำงานในสถานที่ที่กำหนด ตามเวลาที่กำหนด คำถามมากมายเรื่องน้ำนมและอื่นๆก็เพิ่มเข้ามา เพราะมองนาฬิกา ทำตามเวลาที่กำหนด... คำอธิบายที่บอกสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหาได้จากการทำความเข้าใจกับการทำงานของสมองและระบบร่างกายที่ประสานกันในตัวแม่และลูก
หมอ พยาบาล ต้องการเหตุและผล ต้องมีสูตรการทำงาน สมองซีกซ้ายทำงานอย่างเดียว ต้องมีปริมาณน้ำนม ต้องมีตัวเลขน้ำหนักขี้น ต้องมีเท่านั้น ต้องทำอย่างนี้ ในขณะที่ลูกไม่ต้องการเหตูผล อุ่นใจ สบายก็สงบ ตกใจ เจ็บ ไม่สบายตัวก็ร้อง เช่นเดียวกันกับแม่ ใช้ภาษากาย ลืมเรื่องจำนวน Sensitive ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแม่ลูกจึงมีความสำคัญ ยิ่งอยู่ใกล้ ยิ่งเรียนรู้ ยิ่งอุ่นใจ การสื่อสารของคนที่สมองวีกซ้ายและขวาทำงานตรงกันข้ามจึงมักไม่สามารถสื่อกันได้ และทุกครั้งที่มีปัญหาแม่มักจะถูกกล่าวหาว่าเป็นสาเหตุของปัญหาเป็นเนื่องๆ ทั้งที่การปฏิบัตของคนที่พยายามกำหนดกฏเกณฑ์ที่ไม่สอดคล้องกับร่างกายและจิตใจแม่และลูกไปกันคนละทาง
ฮอร์โมนออกซิโตซินไม่ใช่จะเฉพาะแม่เท่านั้นที่มีเราต่างได้รับผลของการหลั่งฮอร์โมนนี้มาโดยถ้วนหน้า เวลาเรารับประทานอาหารไง ทำไมเราจึงชอบนัดกันไปกินอาหาร ทำไงงานเลี้ยงทำให้เราสนุก มีความสุข สนุกสนาน ก็เพราะฮอร์โมนรัก นี่แหละ การมีปฏิสัมพันธ์นี่แหละที่ทำให้เรามีความสุขเช่นเดียวกับการกินนมแม่และมีการสบตาสื่อสารกันระหว่างแม่และลูก
ประเด็นที่จุดประกายให้เห็นถึงมุมที่ต่างของผู้ให้กับผู้รับที่ไม่สามารถจะจูนให้ตรงกันเพียงเพราะเราขาดความเข้าใจเรื่องร่างกายของเราอย่างถ่องแท้ที่คงช่วยให้เราสามารถนำกลับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันของเราได้เป็นอย่างดี

วันจันทร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2555

วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555

วิธีการบีบน้ำนมแม่จากเต้ามีผลต่อสารอาหารในน้ำนม

Study: Pumping method affects milk composition for preterm infants

Following on their study on milk volume and method of expression, which showed that a combination of pumping and hand expression (a technique termed "hands on pumping") yields more milk for preterm infants, a team at Stanford University School of Medicine has shown that pumping method also affects milk composition.
The study, led by Dr. Jane Morton, found:
The researchers’ findings confirmed that moms [of very preterm infants] who used hands-on pumping had higher fat content in their milk than women relying on electric pumps alone...
“People have suspected that mothers would be able to get more fat-rich milk with hands-on pumping but it’s never been demonstrated before,” said Jane Morton, MD, a community pediatrician who was the new paper’s first author. The suspicion arose because milk composition changes during a feeding, shifting from more-dilute milk at first to richer, higher-fat “hindmilk” at the end. Because of its high fat content, the hindmilk is more viscous, which may explain why it’s difficult to remove this milk with an electric pump alone. But extracting more high-fat hindmilk could give preemies an important calorie boost.
Dr. Morton says that her next research question is whether this higher-fat milk is sufficient to meet preemies' needs without the use of human milk fortifier. This fortifier, with the exception of the human-milk product made by Prolacta Bioscience, is made from cow's milk. Cow's milk products have been shown to increase the risk of the life-threatening condition necrotizing enterocolitis.

Ricki Lake on "The View" - 10/22/07

More Business of Being Born Trailer

วันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2555

นมแม่ กับยาค้องห้าม

คุณแม่ยังอยู่ในช่วงให้นมลูกเวลาจะกินหยูกกินยา ส่วนใหญ่จะระมัดระวังเป็นอย่างดีอยู่แล้ว แต่อาจมีบางเรื่องที่หลงลืมไปบ้าง มาติดตามข้อมูลรายละเอียดกันดีกว่าค่

นี่แหละ...ยาต้องห้าม



ยาที่กินโดยไม่มีความจำเป็น : ไม่ได้ผ่านการวินิจฉัยอย่างถูกต้องจากแพทย์ เช่น เพื่อนบอกว่านี่ดีนั่นดีกินไว้สิ ยานี้ช่วยโน่นยานี้ช่วยนี่ เลิกเถอะค่ะ จะได้ไม่ต้องไปเสี่ยงกับปัญหาทั้งหลายทั้งปวง ที่จะทำให้คุณแม่แข็งแรงและบำรุงดีคงไม่มีอะไรดีไปกว่ากินอาหารที่มีประโยชน์ กินให้ครบห้าหมู่ พักผ่อนให้เพียงพอตามภาวะที่เหมาะสมของแม่หลังคลอด ออกกำลังกายและได้รับกำลังใจจากคนรอบข้าง อย่างอื่นน่ะมันของปลอมๆ ทั้งนั้น

ยาที่ไม่รู้จักมันจริง : ทั้งส่วนประกอบ สรรพคุณ ผลข้างเคียงที่อาจเกิดจากการใช้ยา ไม่ว่าจะเป็นแผนปัจจุบัน แผนสัปปายะไทย สัปปายะเทศ หรือพวกแผนอนาคต อันนี้ยิ่งน่ากลัวใหญ่ พวกมาใหม่เอี่ยมเพิ่งทดลองมาเสร็จแล้วออกใช้เลย อย่าเชียวค่ะ

 
ยาทางเลือก : ประเภทอาการที่ไม่ต้องใช้ก็ได้ยา โดยไม่เกิดอันตราย เช่น คุณแม่เริ่มมีไข้ คุณแม่อาจใช้ยาลดไข้ได้ แต่คุณแม่ก็อาจชะลอการใช้ยาโดยลองดื่มน้ำเยอะๆ เช็ดตัวบ่อยๆ ดื่มน้ำส้มคั้นเพื่อเพิ่มวิตามินซีสดๆ อันนี้ในยามที่ไข้ไม่สูงมากนักค่ะ

ยาอันตราย : ถูกระบุว่าเป็นอันตรายทุกชนิด ก่อนใช้ต้องไตร่ตรองให้ดี พบแพทย์และให้ทราบข้อดีข้อเสีย ผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดกับทั้งแม่ น้ำนมของแม่และสุขภาพของลูก หลีกเลี่ยงได้เป็นดีที่สุด

ยาปฏิชีวนะ
ยาปฏิชีวนะที่แพทย์เห็นสมควรให้กินเมื่อจำเป็น เพราะมีการอักเสบติดเชื้อรุนแรงจนต้องได้รับยาจนครบ แล้วคุณแม่เบื่อที่จะกินก็เลิกเอง อันนี้ห้ามเด็ดขาด เพราะอาจนำไปสู่การดื้อยาของเชื้อโรคทำให้การรักษาในอนาคตยากขึ้น ควรปรึกษากับแพทย์ที่ดูแลอยู่ให้แน่ชัดว่าควรปฏิบัติอย่างไร ถามทางเลือกก่อนการเริ่มยา เมื่อเริ่มแล้วไม่ควรถอย ยาตัวนี้สำคัญเพราะต้องป้องกันไว้ตั้งแต่ตอนคลอด หลายตัวสามารถถ่ายทอดมาถึงลูกระหว่างการคลอด และหลายตัวมีฤทธิ์ตกค้างหลังลูกเกิดอีกต่างหาก เช่น ยาแก้ปวดที่ได้มักทำให้ลูกง่วงนอน กดกลไกการดูดกลืน suckling’s reflex rooting’s reflex ของลูกในช่วงแรกๆ ยาบางตัวอาจทำให้ลูกมีโอกาสตัวเหลืองมากกว่าปกติค่ะ

ยาทาถู สูดดม เครื่องสำอาง รักษาสิว
ยาทาถู : ใช้ทาผดผื่นคัน บรรดาเม็ดต่างๆ หรือที่คัน แสบ พุพองทั้งหลาย ยาทาหลายตัวมีพวกสเตรียรอยด์ ไม่ควรใช้ แต่ถ้าใช้ต้องระมัดระวังเพราะหากใช้ไม่ถูก อาจจะทำให้อาการลุกลามมากขึ้นและถ้าใช้นานๆ ก็จะเป็นปัญหาอีกเช่นกัน

ยารักษาสิว : ทำผิวให้ขาวผ่องทั้งหลายอาจมีส่วนผสมที่เป็นอันตราย คุณแม่ที่หวังจะใช้ยากำจัดริ้วรอยคราบไคลดำๆ รอยฝ้าที่เกิดหลังคลอด คงต้องบอกว่าอย่าเลยคะ สิ่งเหล่านี้เกิดเพราะฮอร์โมนระหว่างตั้งครรภ์ รอการปรับของฮอร์โมนสักหน่อยแล้วค่อยปรึกษาแพทย์ ถ้าอยากใช้ยา แต่จริงๆ แล้วยังมีทางเลือกอื่นๆ อีกมาก เช่น การใช้สมุนไพร การไม่ตากแดด การทาครีมกันแดด ฯลฯ ให้เลือกอีกหลายอย่าง เครื่องสำอางทั่วไปที่ปลอดภัยก็ใช้ไปเถอะค่ะ แต่งเติมให้สดชื่นสวยงามบ้างพองาม เพราะถ้ามัวแต่หมกมุ่นกับความสวยของตัวเองก็จะหมดเวลาไปไม่ได้มาใส่ใจกับลูก น่าเสียดาย พยายามหลีกเลี่ยงการย้อมผม การโกรกสีผม นานๆ ทำทีก็พอไหวแต่สีผมธรรมชาติก็ไม่ได้น่ารังเกียจตรงไหนนะคะ

ยาสูดดม : กลิ่นหอมปลอดภัยตามธรรมชาติสนับสนุนให้ใช้เพื่อการผ่อนคลาย จะดมกลิ่นหอมของดอกมะลิริมรั้ว กลิ่นยูคาลิปตัส คาโมมายก็ได้ทั้งนั้น ดมพอหอมชื่นใจ แต่ที่ต้องให้ระวังก็พวกสเปรย์ ทินเนอร์ กลิ่นสารเคมีซึ่งผลกระทบคงเป็นที่สุขภาพคุณแม่ อาจจะหน้ามืดวิงเวียน หรือถึงกับหมดสติถ้าสูดหายใจเข้าไปมาก ไอ้ที่จะผ่านไปถึงลูกนั้นน้อยมากแต่ก็อยากให้ระมัดระวัง หลีกเลี่ยงไม่สัมผัสโดยตรง เอาผ้าปิดปากปิดจมูกเมื่อเจอกลิ่นสารเคมี

คราวนี้คงกระจ่างแล้วว่ายาแบบไหนต้องห้าม แบบไหนให้ระมัดระวังเวลาใช้ แบบไหนปลอดภัย ก็น้ำนมแม่มีค่าสำหรับลูกเกินกว่าจะปล่อยปละไม่สนใจนี่ค่ะ






































 

นมแม่...ช่วยลดหุ่น

มแม่...ช่วยลดหุ่น
โดย: มีนะ สพสมัย
อยากจะบอกว่านมแม่เป็นอีกตัวช่วยหนึ่ง ให้คุณลดหุ่นได้จริงๆ นะเออ...
สวยใสฟิตเปรี๊ยะหลังคลอดเป็นยอดปรารถนาของคุณแม่ ดิฉันอยากจะบอกว่านมแม่เป็นอีกตัวช่วยหนึ่ง ให้คุณลดหุ่นได้จริงๆ นะเออ...

หุ่นผอมกับนมแม่...เกี่ยวกันตรงไหน?
ตอนตั้งครรภ์คุณแม่จะมีการเก็บสะสมไขมันส่วนเกินเอาไว้ตามต้นแขน สะโพก และหน้าท้องประมาณ 2-4 กิโล (ถ้าน้ำหนักตัวขึ้นมาก ไขมันก็จะมีมากขึ้นตามลำดับ) ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการสร้างน้ำนมเป็นจำนวน 200-300 กิโลแคลอรีต่อวันนาน 3 เดือน
อีกนัยหนึ่ง คุณแม่ที่ต้องให้ลูกกินนมแม่ ต้องการพลังงานและสารอาหาร ประมาณ 500 กิโลแคลอรี ถ้าน้ำหนักตัวของคุณแม่ไม่ลดเร็วจนเกินไป ก็จะสามารถผลิตน้ำนมได้อย่างพอเพียง โดยทั่วไปจึงแนะนำให้คุณแม่บำรุงอาหารและพักผ่อนให้เพียงพอ เพราะต้องเลี้ยงดูลูก มีงานเพิ่มขึ้นมากมาย แถมเวลานอนหลับก็เปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง บางตำราจึงไม่แนะนำให้ควบคุมน้ำหนักตัวคุณแม่ในช่วงหกเดือนแรกหลังคลอดค่ะ
น้ำหนักลดลงได้อย่างไร?
คนส่วนมากจะลดน้ำหนักด้วยวิธีการลดอาหาร โดยอาศัยหลักที่ว่า ถ้ากินมากไปกว่าที่ใช้ก็เหลือเก็บสะสม นั่นหมายความว่าคุณก็จะอ้วนขึ้น ถ้ากินน้อยกว่าที่ใช้ก็จะดึงเอาของที่สะสมไว้มาใช้ คุณก็จะน้ำหนักตัวลดลง
แต่ในความเป็นจริง เราต้องใช้พลังงานในกิจกรรมสำคัญมากมาย เช่น การรักษาสมดุลของอุณหภูมิของร่างกาย การทำให้เกิดการไหลเวียนเลือด การบีบรัดตัวของหัวใจ แม้กระทั่งการย่อยอาหาร การสร้างน้ำนม และการเลี้ยงดูลูก ดังนั้นทางเลือกในการลดน้ำหนักอาจแบ่งได้เป็นสองทาง ทางแรกคือกินให้น้อยลง ทางที่สองคือใช้พลังงานให้มากขึ้น ข้อหลังนี้จึงเข้าทางคุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมตัวเองค่ะ
อาหารคาร์โบไฮเดรตต่ำดีหรือไม่
ร่างกายของคุณแม่ยังต้องการพลังงานจากแหล่งอาหารพวกแป้งอยู่ ถ้าเรากินน้อยเกินไป ร่างกายจะไปดึงพลังงานจากไขมันมาใช้ ซึ่งกระบวนการนี้จะทำให้เกิดของเสียที่เรียกว่า คีโตน (Ketone bodies) ถ้ามีมากเกินไปจะไปรบกวนระบบการเผาผลาญของร่างกาย แถมยังทำให้รสชาติของน้ำนมคุณแม่เปลี่ยนไป เหมือนกับกรณีที่มีการออกกำลังอย่างหนัก จนมีการสลายของกล้ามเนื้อออกมาเป็นกรดแลคติด ดังนั้นสองกรณีนี้อาจทำให้รสชาติน้ำนมแม่เปลี่ยนไปได้
คุณแม่จึงควรกินอาหารแป้งอย่างพอเหมาะ ไม่มากไม่น้อยเกินไป เพราะอาจพาลขาดสารอาหารตัวอื่นไปด้วย และเวลาที่อาหารไม่พอคุณแม่ก็จะหิว อ่อนเพลีย หมดแรง อารมณ์หงุดหงิด ซึ่งก็ไม่ดีทั้งคุณแม่และทุกคน น้ำนมก็เหือดหายไปด้วย เพราะไม่พร้อมทั้งร่างกายอารมณ์ และจิตใจ
วิธีเด็ด...ช่วยลดน้ำหนัก
1. ลดปริมาณอาหารไขมัน ขนมหวาน รวมทั้งลดการเติมน้ำตาลลงไปในอาหาร
2. เพิ่มการกินอาหารที่มีกากไยสูง เช่น ผักใบเขียว ผลไม้สด
3. ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอให้มากกว่า 10 แก้วต่อวัน หรือประมาณ 2 ลิตร แต่ถ้าจะเลือกเป็นน้ำผลไม้ก็พอไหว
4. ห้ามใจจากของหมักดอง อาหารกระป๋อง และเครื่องดื่มที่มีคาแฟอีน
5. ระวังอย่าให้น้ำหนักตัวลดลงมากกว่า 1-2 ปอนด์ (2-4 กิโลกรัม) ต่อสัปดาห์ หรือ มากกว่า 4.5 ปอนด์ ( 8-9 กิโลกรัม) ต่อเดือน
6. ออกกำลังอย่างสม่ำเสมอเพื่อทำให้กล้ามเนื้อกระชับและแข็งแรง แถมยังทำให้คุณได้ผ่อนคลายและรู้สึกดีกับรูปลักษณ์ของคุณ
7. ห้ามเด็ดขาดที่จะใช้ยาในการลดน้ำหนัก เพราะเป็นอันตรายต่อทั้งตัวคุณและมีผลกระทบถึงลูกได้
8. มั่นใจเสมอว่าน้ำนมของคุณดีที่สุดสำหรับลูก และเมื่อคุณให้ลูกกินนมบ่อยๆ ตามที่ลูกต้องการอย่างสม่ำเสมอ น้ำนมของคุณก็ไม่มีวันเหือดแห้ง และวิธีนี้ก็เป็นวิธีที่จะทำให้คุณได้พบกับความงามทั้งเรือนร่างและจิตใจที่เปี่ยมสุขค่ะ
รู้หรือเปล่าว่า...
- จากการศึกษาพบว่า 4 ใน 5 ของคุณแม่ที่ให้นมลูกโดยไม่มีการจำกัดอาหารรับประทานสามารถลดน้ำหนักลงไปได้ 1.5 ปอนด์ต่อเดือน ใน 4 -6 เดือนแรกหลังคลอดและจะลดลงได้อีกหลังจาก 6 เดือนไปแล้ว
- อีกการศึกษาหนึ่งพบว่าหลังคลอด 6 เดือนไปแล้ว แม่ที่ให้ลูกกินนมแม่มีน้ำหนักใกล้เคียงกับตอนก่อนตั้งครรภ์มากกว่าแม่ที่ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมตนเอง
เอกสารอ้างอิง
1. Katherine D. et. al. “weight loss during lactation : Are low carbohydrate diets a good choice? jounal of Human lactation vol.20 no.3 August 2004
2. Eiger S M, The complete book of breastfeeding ,3rd edition,workman publishing company,Inc. , 1999
3. Worthingtong-Robert and Willium S.,Nutrition in Pregnancy and lactation,5th edition,Mosby,1993
4. Iinstitute of Medicine . Nutrition during lactation.1991.National Academy Press.Washington DC
5. Intensive course in Breastfeeding phase I (Handbook) Texas Department of Health.
จาก:ดวงใจพ่อแม่

“ทำอึ๋ม” อุปสรรคให้นมแม่ (???)

“ทำอึ๋ม” อุปสรรคให้นมแม่ (???)
เรื่อง : มีนะ สพสมัย

 
เรื่องความสวยความงานเป็นเรื่องยอมกันไม่ได้สำหรับผู้หญิงเราค่ะ หลายคนจึงตบเท้าเข้าพึ่งมีดหมอ ถ้าเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ยังไม่เท่าไหร่ แต่เรื่องของหน้าอกหน้าใจนี่สิต้องคิดหนักหน่อย เพราะหลายคนสงสัยว่าถ้าไปทำอึ๋มมาแล้ว จะให้นมลูกเองได้ไหมน้า... ถ้าอย่างนั้นเราไปหาคำตอบด้วยกันดีกว่านะคะ

ความกังวลต่อการผลิตน้ำนม

การผ่าตัดเต้านมที่จะพูดถึงนี้ เป็นการทำศัลยกรรมตกแต่งเพื่อการลดหรือเพิ่มขนาดของเต้านม ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องคือ เรื่องของการตัดเอาท่อน้ำนมหรือต่อมน้ำนม และเส้นประสาทออกไปหรือไม่ เพราะอาจทำให้กลไกน้ำนมพุ่ง "Let Down Reflex" ขาดหายไป การส่งกระแสประสาทให้เกิดการสร้างน้ำนมก็จะลดลงหรือหายไปได้ ถ้ายังคงอยู่ดีก็ไม่มีผลกระทบโดยตรงกับการให้นมค่ะ และยังสามารถใช้หลักการเดิม คือ 3 ดูด ดูดโดยเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี ยิ่งดูดมากน้ำนมยิ่งมากได้เหมือนเดิมค่ะ

การเพิ่มขนาดเต้านมอาจทำโดยการสอดใส่ถุงน้ำเกลือ หรือถุงซิลิโคนเข้าไปใต้เต้านม สมัยนี้มักสอดเข้าบริเวณรักแร้หรือบริเวณอื่นที่ไม่มีการตัด ตกแต่งบริเวณหัวนม กลุ่มนี้มักไม่มีปัญหาจากการตัดท่อน้ำนมหรือต่อมน้ำนม ต่างจากกลุ่มที่ตัดหรือลดขนาดของเต้านม ที่มักมีการตกแต่งบริเวณหัวนม แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นมีความแตกต่างกันตามเทคนิคที่แพทย์ แต่ละท่านทำและการให้ความสำคัญกับการให้นมลูก โดยเฉพาะคุณ ๆ ที่ตัดสินใจทำศัลยกรรมประเภทนี้ในวัยที่ยังอาจมีลูกได้ ถ้ายังไม่ทราบว่าผ่าตัดแบบไหนก็คงต้องถามแพทย์ที่ทำให้ค่ะ
คุณแม่ที่ผ่าตัดหน้าอกมาอาจลังเลว่า ให้นมลูกแล้วเต้านมจะเสียทรงจากที่ทำมา อันนี้คงต้องหยั่งใจตัวเองให้ดีว่าจะเลือกอะไร มีการผ่าตัดเสริมเต้านมหลายแบบ ที่ไม่ทำให้เกิดผลกระทบจากการให้ลูกกินนมจากเต้าเลย อาจกระทบบ้างจาการมีน้ำนมเพิ่มขึ้น ทำให้คัดตึงมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบ้างเล็กน้อยแบบที่ยอมรับได้

จะเสริมหรือตัด ก็ไม่มีปัญหา...

โดยส่วนใหญ่จะพบว่า แม่หลังจากผ่าตัดเสริมเต้านม สามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ได้เท่ากับคนที่ไม่ได้ผ่าตัด มีบางรายที่มีอาการชาหรือหมดความรู้สึกที่บริเวณลานนม หรือหัวนมซึ่งอาจใช้เวลาในการฟื้นฟูกลับเป็นปกติได้ในเวลา 6 เดือนหลังผ่าตัด หรือบางรายอาจเป็นถึง 2 ปีแล้วแต่กรณี ผู้ที่ผ่านการผ่าตัดอาจรู้สึกไม่มั่นใจว่า จะมีน้ำนมพอให้ลูกกินหรือไม่ ขอแนะนำให้ทำในสิ่งต่อไปนี้



  • พยายามอย่าใช้ความรู้สึกเป็นตัวตัดสินดูที่สุขภาพลูกเป็นหลัก
  • หมั่นให้ลูกกินนมอย่างสม่ำเสมอ กินอย่างถูกวิธี
  • สวมเสื้อยกทรงหรือมีสิ่งประคับประคองเต้านมไว้เสมอ โดยไม่ให้หลวมหรือคับแน่นจนเกินไป
  • อย่าให้มีการดึงรั้งหัวนมหรือเต้านม เช่น การดึงเอาหัวนมออกจากปากลูก ฯลฯ
  • ดูแลตนเองโดยการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ พักผ่อน และมีจิตใจที่แจ่มใส
  • ถ้าจำเป็นต้องกระตุ้นน้ำนมให้ลูกดูดกระตุ้นที่เต้าก่อนเสมอ
  • สามารถบีบเก็บน้ำนมด้วยมือหรือปั้ม เพื่อใช้เสริมให้ลูกในกรณีที่จำเป็น โดยให้นมลูกผ่านทางสายยางขนาดเล็ก หรือใช้หยดที่มุมปากตอนดูดจากเต้าก็ได้
  • ใช้การเสริมด้วยนมชงเป็นทางเลือกสุดท้าย ถ้าแสดงอาการน้ำนมที่ได้ไม่พอ
รู้ถึงการให้นมแม่หลังจากการทำศัลยกรรมเต้านมกันแล้วนะคะว่า เป็นอย่างไร คงจะช่วยคุณแม่ประกอบการตัดสินใจได้นะคะ ฉะนั้นก่อนที่จะตัดสินใจทำศัลยกรรมครั้งใด คุณแม่ควรจะพิจารณาถึงผลดีผลเสียอย่างถี่ถ้วนก่อนเป็นดีที่สุด เพราะท้ายที่สุดแล้วของปลอมไหนเลยจะสู้ของธรรมชาติให้มาได้ล่ะคะ









รายการบล็อกของฉัน